- Remote-access ซึ่ง สามารถเรียกได้อีกอย่างว่า VPDN (Virtual Private Dial-up Network) เป็นการติดต่อภายในเครือข่ายเดียวกันเช่น พนักงานของบริษัทสามารถติดต่อกับอีกเครือข่ายของบริษัทที่อยู่ไก ลออกไปได้ ซึง่ บริษัทจะทำาการสร้างระบบให้ใหญ่ เพื่อสร้าง ESP (Enterprise Service Provide) และ ESP จะทำาการสร้าง NAS ( Network Access Server ) และใช้ S/W ของเครื่อง VPN Client ภายในเครือข่าย เพื่อทำาการติดต่อเข้าไปในเครือข่าย บริษัทขนาดใหญ่ที่มีพนักงาน หลายร้อยคนควรใช้แบบ Remoteaccess เพราะมีการรักษาความปลอดภัยที่ดี
- Site-to-Site เป็นการติดต่อกันระหว่างเครือข่ายหลายเครือข่าย เช่น บริษัทสำานักงานใหญ่ที่กรุงเทพฯ ต้องการติดต่อกับ บริษัทสาขาที่เชียงใหม่ เป็นต้น โดยจะเชื่อมต่อผ่านทาง เครือข่ายสาธารณะ ซึง่ แบบ Site-to-Site แบ่งออกเป็น 2 แบบคือ
- Intranet-based เป็นการติดต่อกันภายในเครือข่ายเดียวกันแต่อยู่ห่างกันมาก เช่น การติดต่อกันระหว่างสำานักงานที่กรุงเทพฯ กับสำานักงานที่อยู่ต่างจังหวัด เสมือนกับ การทดแทน การเช่าวงจรลีสไลน์ ระหว่าง กรุงเทพกับต่างจังหวัด โดยที่แต่ละสาขาสามารถต่อเชื่อมเข้ากับผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ในท้องถิ่นของตน เพื่อเชื่อมเข้า โครงข่าย VPN ขององค์กรอีกทีหนึง่ ซึง่ ในการเชื่อมต่อกันแบบ Intranet ควรเป็นเครือข่ายแบบ LAN ต่อกับ LAN
- Extranet-based เป็นการติดต่อระหว่างเครือข่ายของเรากับเครือข่ายอื่น ๆ เช่น เครือข่ายของ ลูกค้า, ผู้ผลิต เป็นต้น เราจะใช้ Extranet ในการติดต่อเครือข่าย LAN ของเรากับเครือข่าย LAN อื่น ๆ เพื่อทำางานร่วมกัน เช่น สามารถใช้ข้อมูลหรือทรัพยากรต่าง ๆ ร่วมกันจุดสำาคัญอย่างหนึง่ ในการเลือกติดตัง้ VPN คือการเลือก ผู้ให้บริการอินเทอร์เน็ต ที่วางระบบรักษาความปลอดภัย เป็นอย่างดี มีส่วนอย่างมาก ในการส่งข้อมูลบน VPN ให้ปลอดภัยมากยิ่งขึน้ เพราะถ้า ไอเอสพี มีระบบรักษาความปลอดภัย ที่รัดกุม ก็จะช่วยให้ ข้อมูลที่ส่งมา มีความปลอดภัยมากขึ้น
No comments:
Post a Comment